ปรัชญาวิทยาลัย

ปรัชญาวิทยาลัย

ปรัชญาวิทยาลัย
Shiga Bunkyo Junior College ก่อตั้งชึ้นเมื่อปี 1952 โดยท่านอาจารย์ Matsumoto Fujinosuke ตามแนวคิดที่ว่า "คนที่มีการศึกษาคืออนาคตของประเทศ" “การพัฒนาการศึกษาคือ การทาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ" โดยมีปรัชญาที่ว่า " สัจจะ ความซื่อตรง แก่นแท้ ความสุภาพ การก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง" การให้ผู้เรียนได้มีคามรู้ความสามารถคือวัตถุประ
สงค์ในการจัดตั้งสถาบันแห่งนี้
สัจจะคือการรักษาสัญญาที่ได้ให้ไว้กับผู้อื่น และมุ่งมั่นที่จะทาตามจนสาเร็จ
ความซื่อตรงคือการทางานในส่วนของตัวเองอย่างดีที่สุด ไม่เอาเปรียบผู้อื่น
แก่นแท้คือ การทางานอย่างจริงจัง ไม่ทาแบบขอไปท
สุภาพคือการรู้จักขอบคุณในความมีน้าใจในทุกเรื่องที่ได้รับจากผู้อื่น ี
การก้าวอย่างมั่นคงคือไม่ย่อท้อต่อความเหนื่อยยาก ไม่หลงใหลไปกับสิ่งยั่วยุ ค่อย ๆ ก้าวไปข้างหน้า อย่างช้า ๆ และมั่นคง
คุณค่า วิธีการคิด วิธีการดู คุณค่าที่สาคัญในฐานะพื้นฐานการพัฒนาของมนุษย์
วิทยาลัยแห่งนี้ จัดตั้งโดยยึดหลักปฏิบัตตามแนวคิด และปรัชญาดังกล่าว ทั้งยังใช้วิธีการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุก
คนได้มีความรู้ความสามารถพร้อมที่จะไปประกอบอาชีพหรือปฏิงานได้จริง ให้มีคุณสมบัติตามที่บริษัทหรือสถานประกอบการต้องการ

ประวัติวิทยาลัย

Shiga Bunkyo Junior College ก่อตั้งขี้นเมื่อปี 1952 แต่เดิมถูกสร้างขี้นในฐานะวิทยาลัยUhoku junior college เอกชน ในจังหวัดGifu จนเมื่อปี 1959ได้ย้ายที่ตั้งโรงเรียนไปยังเมืองใหม่ แต่ยังอยู่ในจังหวัดเดิมและเปลี่ยนชื่อวิทยาลัยใหม่เป็น Gifu Junior College และเมื่อปี1912 ก็ได้มีการย้ายที่ตั้งโรงเรียนอีกครั้ง จากการเชิญชวนของชาวเมืองNagahama จังหวัด Shiga ก่อตั้งขี้นอีกครั้งในเขนTamura และได้เปลี่ยนชื่อใหม่อีกครั้งเป็นShiga Bunkyo Junior Jollege และใช้มาถึงปัจจุบัน
วิทยาลัยแห่งนี้ หัวใจหลักของการก่อตั้งสถานศึกษาแห่งนี้ขึ้น มาจากเเนวความคิดที่ว่า
(คนที่มีการศึกษาคือ อนาคตของประเทศชาติ) (การพัฒนาการศึกษาให้สูงขึ้น เพื่อส่งเสริมผู้ที่มีการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้น) ก่อนอื่นต้องฝึกให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ทั้งสามด้าน ทั้งด้านความคิดสติปัญญา ประกอบกับการมีคุณธรรมจริยธรรม และมีร่างกายที่แข็งแรง คือ
< ความซื่อสัตย์สุจริต ความจริงใจ เนื้อแท้ ความอบอุ่น การก้าวไปข้างหน้าอย่างค่อยเป็นค่อยไป> นี่คือนโยบายในการสอน เพื่อฝึกฝนความอดทนให้มีศักยภาพ และคุณภาพของมนุษย์
คณะศิลปศาสตร์ เริ่มมีการเรียนการสอนตั้งแต่ปี 1952 พร้อมกับการก่อตั้งวิทยาลัย วัตถุประสงค์คือเพื่อบุคคลที่สนใจจะเป็นครูได้ศึกษาพัฒนาเพื่อบุคคลที่สนใจจะเป็นครูได้ศึกษาพัฒนาคุณภาพของตน เรียนรู้วิธีการสอน และยังเพื่อที่จะสอบได้รับไปอนุญาติการเป็นครู ระดับสองในการสอนได้รับไปอนุญาติการเป็นครู ระดับสองในการสอนเด็กระดับมัธยมตอนต้น ปัจจุบัน นอกจากสาขาประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นแล้วยังมีสาขาการเขียนพู่กันประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นแล้วยังมีสาขาการเขียนพู่กันญี่ปุ่นอีกด้วย เพื่อให้มีความรู้ และความสามารถแก่นักศึกจึงจัดตั้งให้เป็นอีกสาขาหนึ่ง ศึกจึงจัดตั้งให้เป็นอีกสาขาหนึ่ง
คณะครุศาสตร์ จัดตั้งให้มีขึ้นในปี 1974 ให้เป็นคณะการเรียนการสอน สา หรับบุคลคที่ต้องการสอบใบอนุญาติประเภทที่สองประกอบกับสนใจใบอนุญาติประเภทที่สองประกอบกับสนใจจะเป็นครูสอนเด็กชั้นอนุบาลและเด็กชั้นประถม ในปี 1975 เป็นช่วงที่จา นวนเด็กนักเรียกเพิ่มขึ้นเป็นช่วงที่จา นวนเด็กนักเรียกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทา ให้โรงเรียนประถมและโรงเรียนอนุบาลหลายโรงเรียนมีต้องการครูเพิ่มมากขึ้น การโรงเรียนมีต้องการครูเพิ่มมากขึ้น การเสริมสร้างครูที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง และทา ให้บรรลุเป้าหมายได้ปี 2006 เพื่อที่จะสนันสนุนให้มีเป้าหมายได้ปี 2006 เพื่อที่จะสนันสนุนให้มีความรู้ความสามารถในการเลี้ยงเด็กโดยเฉพาะทาง จึงมีการจัดตั้งคณะการเลี้ยงเด็กก่อนเกณฑ์ขึ้น การจัดตั้งคณะการเลี้ยงเด็กก่อนเกณฑ์ขึ้น
นอกจากคณะศิลปศาสตร์และครุศาสตร์แล้ว ยังมีสาขาการสอนบรรณารักษ์ของห้องสมุด (โรงเรียน)นอกจากโรงเรียนนี้แล้วยังมีโรงเรียนในเครืออีก นอกจากโรงเรียนนี้แล้วยังมีโรงเรียนในเครืออีก ปี 1940 ในเขต Gujouhachiman จังหวัดGifu Gujokotojikkajo School Gujokotojikkajo School เป็นโรงเรียนแรกที่เริ่มก่อตั้งขี้น ปัจจุบันในจังหวัดGifuยังมีโรงเรียน Gifu Daiichi High School Daiichi High School และ Gifu Girls High School ที่ถูกก่อตั้งขึ้นในแนวความคิดเดียวกัน
ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การวางแผนที่จะพูดหรือแสดงออกให้ชัดเจนในรูปธรรมในแง่ของจิตใจในการก่อตั้งสถาบัน การส่งเสริมให้คนในสังคมในการก่อตั้งสถาบัน การส่งเสริมให้คนในสังคมรับมือต่อยุคสมัย การมีใจที่หนักแน่น มีปัญญาที่เฉียบแหลมควบคู่กันไป ในความคิดการอบรมผู้คนแหลมควบคู่กันไป ในความคิดการอบรมผู้คนในสังคมคือการบอกให้มองการไกลและทัศนคติในการดา เนินชีวิต ถือเป็นเป้าหมายของวิทยาลัย ดา เนินชีวิต ถือเป็นเป้าหมายของวิทยาลัย

คณะประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น

การอ่านทาความรู้และความเข้าใจ ไวยากรณ์, การใช้ประโยคเกี่ยวกับภาษาญี่ปุ่นสมัยก่อน ยังมีการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเข้าใจประโยคในการเขียนพู่กันแบบญี่ปุ่น
มากกว่าเรื่องวัฒนธรรมของญี่ปุ่น เราเน้นวัฒนธรรมในบริเวณที่มีการให้ความสนใจเป็นส่วน ๆ โดยเฉพาะบริเวณที่มีเรื่องราวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับ ภาษาญี่ปุ่น, การประยุกต์จากภาษาจีนมาเป็นภาษาญี่ปุ่น, และการเขียนพูกัน เพื่อมุ่งเน้นให้มีความรู้ความสมารถของบุคคลที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพในการเป็นผู้ดาเนินงานทางด้านศิลปะวัฒนธรรมญี่ปุ่น ด้วยหัวใจที่แท้จริง
สาหรับคณะประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นจะแบ่งเป็น 2 สาขา คือ สาขาวัฒนธรรมญี่ปุ่น และสาขาการเขียนพู่กันแบบญี่ปุ่น วิทยาลัยแห่งนี้ได้จัดหลักสูตรไว้อย่างเหมาะสม เพื่อรองรับตามความต้องการของผู้เรียน

คณะครุศาสตร์

คณะครุศาสตร์ คือ การเรียนเตรียมความพร้อมสาหรับบุคคลที่ ต้องการเป็นอาจาย์สอนนักเรียนประถม อนุบาล หรือเด็กก่อนเกณฑ์
มี 2หลักสูตร สาหรับบุคคลที่ต้องการทางานทางด้านการสอนเด็กประถม, อนุบาล จะอยู่ในหลักสูตรการฝึกการสอนนักเรียนระดับประถม และสาหรับ ผู้ที่ต้องการทางานด้านการเรียนการสอนเด็กระดับอนุบาล หรือเด็กระดับก่อนวัยเข้าเรียน จะเป็นหลักสูตรการฝึกการสอนเด็กระดับก่อนเกณฑ์เข้าเรียน ทั้ง 2 หลักสูตร จะได้รับความรู้และความสามารถ อย่างชานาจโดยฐานะครูสอนระดับประถม, อนุบาลหรือเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับประสบการต่าง ๆจากการเรียน ได้มีการจาลองการสอนและวิธีทาเเผนการสอน แนะนาต่าง ๆ ได้ฝึกงานจากสถานที่จริงเพื่อได้รับประสบการณ์โดยตรงการเด็ก ๆ
ในต่อไปภายหน้าในฐานะผู้สอนจะต้องไม่ได้ให้แต่ความรู้ต่อเด็กแค่อย่างเดียว ยังต้องดูแลพัฒนาการของเด็กให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ ในฐานะครูประถม อนุบาลหรือเด็กก่อนเกณฑ์ ต้องมีความเชื่อในการสอนไม่สอนเด็กแบบผิด ๆ ต้องสอนให้ได้มีความรู้ และเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพเพราะการเป็นครูสอนเด็กเล็กคือการปลูกฝังตั้งแต่ราก ถ้ารากไม่มั่งคงแข็งเเรงพอ ก็จะโตเป็นต้นไม้ที่มั่นคงไม่ได้ที่หลังวิธีการสอนของวิทยาลัยแห่งนี้ พร้อมทั้งยังสอนพื้นฐานของครู ในเรื่องการสื่อสาร การปฏิบัติตัว ตามความต้องการคุณสมบัติในการปฏิบัติงานในฐานะครูของโรงเรียนแต่ละแห่งที่เปลี่ยนไปในทุก ๆ วัน
เรามุ่งเน้นให้นักเรียนในหลักสูตรนี้สามารถสร้างความเชื่อถือต่อผู้ปกครอง และสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างครูกับเด็ก